ป้องกันกำจัดโรคหอมเลื้อยหรือโรคแอนแทรคโนสในหอม

Last updated: 24 พ.ค. 2565  |  1017 จำนวนผู้เข้าชม  | 

ป้องกันกำจัดโรคหอมเลื้อยหรือโรคแอนแทรคโนสในหอม

โรคหอมเลื้อย หรือ โรคแอนแทรคโนสในหอม
สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides

อาการ มักพบที่ระดับคอดิน บริเวณโคนใบ ทำให้ลำต้นโค้งงอ หักพับ ต้นเอนเลื้อย และมีแผลเป็นลักษณะวงรีซ้อนกัน แผลมีสีครีมหรือสีน้ำตาล

ดูดซึมเร็วป้องกันการลุกลามของเชื้อรา เอสโตบิ้น หรือ แมคซิม่า
เอสโตบิ้น การออกฤทธิ์แบบดูดซึม และยับยั้งการหายใจ
ชื่อสามัญ: อะซอกซีสโตรบิน 25% W/V SC
กลุ่มสาร: Strobilurin type : methoxyacrylate (กลุ่ม 11)
ประโยชน์: ป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคใบไหม้ โรคใบจุด โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคเน่าคอรวง โรคราสีชมพู โรคไฟทอปธอร่า โรคใบติด
เพิ่มเติม: สามารถเกาะติดพืชได้ดี แม้จะมีน้ำค้างมาก
อัตรา: 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

หรือ
แมคซิม่า ดูดซึมและยับยั้งการเจริญเติบโต
ชื่อสามัญ: ไดฟีโนโคนาโซล 25% W/V EC
กลุ่มสาร: Triazole (กลุ่ม 3 (G1))
ประโยชน์: ป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคใบไหม้ โรคใบจุด โรคกาบใบแห้ง โรคเมล็ดด่าง โรคเน่าคอรวง โรคราสีชมพู โรคไฟทอปธอร่า โรคใบติด
อัตรา: 10-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นทุก 5-7 วัน

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้